วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์



“GIS A computerized database management system for capture, storage, retrieval, analysis, and display of spatial ( locationally defined) data”
(NCGIA: National Center Geographic Information and Analysis, 1989)

GIS เป็นฐานข้อมูลการจัดการระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการจับภาพการจัดเก็บการค้นคืนการวิเคราะห์และการแสดงผลของข้อมูลพื้นที่ (ตามพื้นที่ที่กำหนด)

NCGIA: National Center Geographic Information and Analysis เป็นศูนย์วิจัยด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระดับชาติในอเมริกา  เพื่อทำหน้าที่ในการเผยแพร่เทคโนโลยีในด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
-------------------------------------------------------------------------

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System (GIS) นั้นได้มีผู้ให้คำจำกัดความไว้หลากหลาย เช่น

1. TYDACT Technologies Inc. (1987) : “Geographic Information System are software packages which can be use to create and analyze spatial information with such systems, maps, air photos and diagrams describing natural and man make features can be translated into an electronic code which can be recalled, modified and analyzed”


2. หนังสือ Geographic Information Systems An Introduction Second Edition : “Geographical information system (GIS) is now used generically for any computer-based capability for geographical data. A GIS computer-based capability for the manipulation of geographical data. A GIS includes not o­nly hardware and software, but also the special devices used to input maps and to create map products, together with the communication systems needed to link various elements”


3. ข้อมูลจาก www.oepp.go.th : GIS คือ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์จัดการเกี่ยวกับข้อมูลและข่าวสาร ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนการเสนอผลลัพธ์ข้อมูลเชิงซ้อนทั้งหมด ให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ตามต้องการ ทั้งนี้โดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตร์สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลข่าวสารต่างๆ


4. ข้อมูลจาก www.khonkaen.go.th/gis/gis8.htm : GIS หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการนำเข้าจัดเก็บจัดเตรียมดัดแปลงแก้ไข จัดการและวิเคราะห์พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ ตามวัตถุประสงค์ต่างๆที่ได้กำหนดไว้ดังนั้น GIS จึงเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เพื่อใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้นที่ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูล และการผสานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) หรือข้อมูลทุติยภูมิ(secondary data) เพื่อให้เป็นข่าวสารที่มีคุณค่า


5.ข้อมูลจาก rsgis.rs.psu.ac.th : GIS คือ ระบบเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงและผสมผสานข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล สามารถดัดแปลงแก้ไขและวิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์ และการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้เห็นมิติและความสัมพันธ์ด้านพื้นที่ของข้อมูล ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิดความเข้าใจปัญหา และประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่


6. ข้อมูลจาก www.gmt.co.th : GIS ประกอบด้วยคำ 2 คำ คือ "ระบบสารสนเทศ" (Information System) และคำว่า "ทางภูมิศาสตร์" (Geographic Geographical) ระบบสารสนเทศ เป็นการปฏิบัติการรวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน สามารถสืบค้นข้อมูลที่ต้องการได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว สามารถนำข้อมูลที่เป็นผลจากการวิเคราะห์ไปใช้ในกระบวนการตัดสินใจของผู้บริหารในการปฎิบัติงานใด ๆ เปรียบเสมือนเครื่องมือที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้บริหาร ภูมิศาสตร์ (Geographic) มาจากรากศัพท์ Geo หมายถึงโลก และ Graphic หมายถึงงานเขียน ดังนั้นการเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับโลกจะอยู่ในรูปแผนที่ ในอดีตการเก็บรวบรวมข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบกระดาษ ดังนั้นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จึงเป็นระบบที่ออกแบบมาเพื่อใช้รวบรวม จัดเก็บ ค้นหา แสดงผล และวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นระบบที่จัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ให้อยู่ในรูปแผนที่เชิงเลข (Digital Map)


7. ข้อมูลจาก www.bhu.go.th : GIS เป็นระบบข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานภาระหน้าที่ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลเหล่านั้น มาวิเคราะห์ และนำผลของการวิเคราะห์มาใช้ประโยชน์ในงานนั้นๆได้ ตัวอย่างเช่น นักวางแผนด้านผังเมือง อาศัยข้อมูลเชิงแผนที่ ข้อมูลด้านการพัฒนาที่ดิน ข้อมูลด้านการวางผังเมือง มาวิเคราะห์ร่วมกัน ให้ได้ผลการวิเคราะห์ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการวางผังเมืองได้ หรือตัวอย่างเช่น นักระบาดวิทยา อาศัยข้อมูลเชิงแผนที่ ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ ข้อมูลป่า แหล่งน้ำ ข้อมูลการป่วยเจ็บ ข้อมูลความหนาแน่นของประชากร ฯลฯ มาวิเคราะห์ร่วมกัน ให้เกิดผลการวิเคราะห์โรคในแต่ละพื้นที่ สามารถทำนายการเกิดโรคได้ และ ใช้เป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ


8. ข้อมูลจาก www.stschool.ac.th : GIS เป็นระบบที่ใช้ Computer เก็บรวมรวมประมวลผล และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมภายในองค์กรข่าวสาร (Information) ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือปรุงแต่ง เพื่อให้มีความหมายเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงที่ได้รับการรวบรวมหรือป้อนเข้าสู่ระบบกระบวนการทำงานของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ชนิด (ต้องเก็บข้อมูลให้เป็นอัตโนมัติมากขึ้น) การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Process) การนำเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศบางระบบ ต้องการตอบสนอง (Feedback) ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล แล้วถูกส่งกลับไปยังส่วนการนำเข้าข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง สารสนเทศที่เป็น Output ของระบบหนึ่ง อาจเป็น Input ของอีกระบบหนึ่งได้ ระบบสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Organization) องค์กรบางแห่งในปัจจุบันสามารถดำเนินธุรกิจได้ก็เพราะมีระบบสารสนเทศที่ดี


9. สำนักงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรของชุมชน : GIS คือ ระบบเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่และเชื่อมโยงและผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล สามารถดัดแปลงแก้ไขและวิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้เห็นนิมิตและความสัมพันธ์ด้านพื้นที่ของข้อมูล ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิดความเข้าใจปัญหา และประกอบการตัดสินใจในปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่


10. Federal Interagency Coordinating Committee (1988) : GIS เป็น ระบบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และวิธีการที่ออกแบบมาเพื่อการจัดเก็บ การรักษา การจัดทำ การวิเคราะห์ การทำแบบจำลอง และการแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อนแก้ปัญหาการวางแผนที่ซับซ้อน และปัญหาในการจัดการ


ที่มา : http://www.eduzones.com/knowledge-2-4-2064.html

“GIS A computerized database management system for capture, storage, retrieval, analysis, and display of spatial ( locationally defined) data”
(NCGIA: National Center Geographic Information and Analysis, 1989)

GIS เป็นฐานข้อมูลการจัดการระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการจับภาพ, การจัดเก็บ, การค้นคืน, การวิเคราะห์และการแสดงผลของข้อมูลพื้นที่ (ตามพื้นที่ที่กำหนด)

NCGIA: National Center Geographic Information and Analysis เป็นศูนย์วิจัยด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระดับชาติในอเมริกา  เพื่อทำหน้าที่ในการเผยแพร่เทคโนโลยีในด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------

● ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System (GIS) นั้นได้มีผู้ให้คำจำกัดความไว้หลากหลาย เช่น

1. TYDACT Technologies Inc. (1987) :
 “Geographic Information System are software packages which can be use to create and analyze spatial information with such systems, maps, air photos and diagrams describing natural and man make features can be translated into an electronic code which can be recalled, modified and analyzed”



2. หนังสือ Geographic Information Systems An Introduction Second Edition : “Geographical information system (GIS) is now used generically for any computer-based capability for geographical data. A GIS computer-based capability for the manipulation of geographical data. A GIS includes not o­nly hardware and software, but also the special devices used to input maps and to create map products, together with the communication systems needed to link various elements”


3. ข้อมูลจาก www.oepp.go.th : GIS คือ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์จัดการเกี่ยวกับข้อมูลและข่าวสาร ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนการเสนอผลลัพธ์ข้อมูลเชิงซ้อนทั้งหมด ให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ตามต้องการ ทั้งนี้โดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตร์สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลข่าวสารต่างๆ


. ข้อมูลจาก www.khonkaen.go.th/gis/gis8.htm : GIS หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการนำเข้าจัดเก็บจัดเตรียมดัดแปลงแก้ไข จัดการและวิเคราะห์พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ ตามวัตถุประสงค์ต่างๆที่ได้กำหนดไว้ดังนั้น GIS จึงเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เพื่อใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้นที่ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูล และการผสานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) หรือข้อมูลทุติยภูมิ(secondary data) เพื่อให้เป็นข่าวสารที่มีคุณค่า
5.ข้อมูลจาก rsgis.rs.psu.ac.th : GIS คือ ระบบเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงและผสมผสานข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล สามารถดัดแปลงแก้ไขและวิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์ และการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้เห็นมิติและความสัมพันธ์ด้านพื้นที่ของข้อมูล ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิดความเข้าใจปัญหา และประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่


6. ข้อมูลจาก www.gmt.co.th : GIS ประกอบด้วยคำ 2 คำ คือ "ระบบสารสนเทศ" (Information System) และคำว่า "ทางภูมิศาสตร์" (Geographic Geographical) ระบบสารสนเทศ เป็นการปฏิบัติการรวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน สามารถสืบค้นข้อมูลที่ต้องการได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว สามารถนำข้อมูลที่เป็นผลจากการวิเคราะห์ไปใช้ในกระบวนการตัดสินใจของผู้บริหารในการปฎิบัติงานใด ๆ เปรียบเสมือนเครื่องมือที่อำนวยความสะดวกให้กับผู้บริหาร ภูมิศาสตร์ (Geographic) มาจากรากศัพท์ Geo หมายถึงโลก และ Graphic หมายถึงงานเขียน ดังนั้นการเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับโลกจะอยู่ในรูปแผนที่ ในอดีตการเก็บรวบรวมข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบกระดาษ ดังนั้นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จึงเป็นระบบที่ออกแบบมาเพื่อใช้รวบรวม จัดเก็บ ค้นหา แสดงผล และวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นระบบที่จัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ให้อยู่ในรูปแผนที่เชิงเลข (Digital Map)
7. ข้อมูลจาก www.bhu.go.th : GIS เป็นระบบข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานภาระหน้าที่ เพื่อให้สามารถนำข้อมูลเหล่านั้น มาวิเคราะห์ และนำผลของการวิเคราะห์มาใช้ประโยชน์ในงานนั้นๆได้ ตัวอย่างเช่น นักวางแผนด้านผังเมือง อาศัยข้อมูลเชิงแผนที่ ข้อมูลด้านการพัฒนาที่ดิน ข้อมูลด้านการวางผังเมือง มาวิเคราะห์ร่วมกัน ให้ได้ผลการวิเคราะห์ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการวางผังเมืองได้ หรือตัวอย่างเช่น นักระบาดวิทยา อาศัยข้อมูลเชิงแผนที่ ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ ข้อมูลป่า แหล่งน้ำ ข้อมูลการป่วยเจ็บ ข้อมูลความหนาแน่นของประชากร ฯลฯ มาวิเคราะห์ร่วมกัน ให้เกิดผลการวิเคราะห์โรคในแต่ละพื้นที่ สามารถทำนายการเกิดโรคได้ และ ใช้เป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ


8. ข้อมูลจาก www.stschool.ac.th. : GIS เป็นระบบที่ใช้ Computer เก็บรวมรวมประมวลผล และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมภายในองค์กรข่าวสาร (Information) ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลหรือปรุงแต่ง เพื่อให้มีความหมายเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงที่ได้รับการรวบรวมหรือป้อนเข้าสู่ระบบกระบวนการทำงานของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ชนิด (ต้องเก็บข้อมูลให้เป็นอัตโนมัติมากขึ้น) การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Process) การนำเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศบางระบบ ต้องการตอบสนอง (Feedback) ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล แล้วถูกส่งกลับไปยังส่วนการนำเข้าข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง สารสนเทศที่เป็น Output ของระบบหนึ่ง อาจเป็น Input ของอีกระบบหนึ่งได้ ระบบสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Organization) องค์กรบางแห่งในปัจจุบันสามารถดำเนินธุรกิจได้ก็เพราะมีระบบสารสนเทศที่ดี


9. สำนักงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรของชุมชน : GIS คือ ระบบเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่และเชื่อมโยงและผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล สามารถดัดแปลงแก้ไขและวิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้เห็นนิมิตและความสัมพันธ์ด้านพื้นที่ของข้อมูล ซึ่งมีส่วนช่วยให้เกิดความเข้าใจปัญหา และประกอบการตัดสินใจในปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่


10. Federal Interagency Coordinating Committee (1988) : GIS เป็น ระบบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และวิธีการที่ออกแบบมาเพื่อการจัดเก็บ การรักษา การจัดทำ การวิเคราะห์ การทำแบบจำลอง และการแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อนแก้ปัญหาการวางแผนที่ซับซ้อน และปัญหาในการจัดการ

วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554

วิจารณ์เพลง


เหตุเกิดจากความเหงา - Emotion Town





ขอบคุณ ระยะทาง ที่ทำให้เราต้องห่างไกล
ขอบใจ เธอเหมือนกัน ที่เธอเลือกจากฉันไปแสนไกล
ขอบคุณเวลาที่ฉันนั้นไม่มีใคร
ขอบคุณอารมณ์อ่อนไหวที่มาทักทายใจ
ทำให้ฉันได้รู้ หากขาดเธอไปคงอยู่ไม่ไหว

เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้ว่ารักเธอเท่าไหร่
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ความอ้างว้างเดียวดายคอยตอกย้ำอยู่เสมอ
เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้เธอสำคัญเพียงใด
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ยิ่งห่างเหินเท่าไหร่ก็ยิ่งรู้ ว่าเป็นเธอที่ ฉันรักหมดหัวใจ

วันนี้มาพบเธอ ด้วยใจที่เดินอย่างอ่อนล้า
ต้องการมาพบหน้า ต้องการจะบอกว่าเพิ่งเข้าใจ
ขอบคุณเวลาที่ฉันนั้นไม่มีใคร
ขอบคุณอารมณ์อ่อนไหวที่มาทักทายใจ
ทำให้ฉันได้รู้ หากขาดเธอไปคงอยู่ไม่ไหว

เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้ว่ารักเธอเท่าไหร่
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ความอ้างว้างเดียวดายคอยตอกย้ำอยู่เสมอ
เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้เธอสำคัญเพียงใด
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ยิ่งห่างเหินเท่าไหร่ก็ยิ่งรู้ ว่าเป็นเธอ ที่ฉันรักหมดหัวใจ

มีคนเคยบอก ถ้าไม่สูญเสียบางอย่าง ก็ยังไม่รู้คุณค่าของสิ่งนั้น
เหมือนอย่างตัวฉัน ที่เพิ่งรู้ว่าคืนวัน ที่ผ่านมาว่าใครคือคนสำคัญ

เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้ว่ารักเธอเท่าไหร่
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ความอ้างว้างเดียวดายคอยตอกย้ำอยู่เสมอ
เหตุเกิดจากความเหงา ที่ทำให้รู้เธอสำคัญเพียงใด
ความห่างไกลมันทำให้ฉันคิดถึงเธอ
ยิ่งห่างเหินเท่าไหร่ก็ยิ่งรู้ ว่าเป็นเธอ ที่ฉันรักหมดหัวใจ


วิจารณ์  >>>  เพลงนี้อาจจะคุ้นหูใครหลายๆคน เนื้อหาของเพลงสื่อถึงความรักที่ดูเหมือนว่าจะไม่สมหวัง มีระยะทางมาคั่นกลาง โดยส่วนตัวแล้วฟังครั้งแรกก็ชอบเลย  ทุกครั้งที่ฟังมักจะนึกถึง คนที่เรารักอยู่แต่ไม่ได้ด้วยกัน ซึ่งไม่จำเป็นต้องหมายถึงคนรักในฐานะแฟนเสมอไป อาจจะหมายถึง พ่อแม่ เพื่อน ซึ่งเนื้อเพลงนี้ก็ได้บอกตรงๆเลยว่า " ถ้าไม่สูญเสียบางอย่าง ก็ยังไม่รู้คุณค่าของสิ่งนั้น " เมื่อก่อนเราอยู่กับครอบครัวหรือเพื่อนตลอดเวลาอาจจะทำให้มองข้ามสิ่งดีๆบางอย่างไปเพราะมันใกล้ตัวเกินไป แต่พอไม่ได้อยู่กับครอบครัวหรือเพื่อน ก็จะทำให้นึกได้ว่า คนเหล่านี้มีความสำคัญกับเรามากแค่ไหน

ข้อมูลเชิงพื้นที่


● Spatial Distribution การกระจายเชิงพื้นที่ คือ การกระจายตัวหรือการกระจุกตัวในพื้นที่นั้นๆอาจพิจารณาจาก จำนวน ขนาด ความหนาแน่น ระยะห่าง รูปแบบ เช่น ประชากรในเขตเมืองและประชากรในเขตชนบท


● Spatial Differentiation ความแตกต่างในเชิงพื้นที่ คือ ในแต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกันในหลายๆด้าน มีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพที่ไม่เหมือนกัน เช่น สภาพสิ่งแวดล้อมในแต่ละบริเวณ


● Spatial Diffusion การแพร่กระจายเชิงพื้นที่ คือ การแพร่กระจายจากจุดกำเนิดไปยังบริเวณอื่นๆ เช่น การอพยพย้ายถิ่น


● Spatial Interaction ปฏิสัมพันธ์ทางพื้นที่ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ต่างๆ ในสถานที่ เช่น ชนเผ่ากับบ้านเรือน อ่าวกับท่าเรือ หรือระหว่างพื้นที่ซึ่งอาจมีความคล้ายคลึงหรือแตกต่างกัน เช่น  การขนส่ง การย้ายถิ่น การแพร่กระจาย


● Spatial Temporal ช่วงเวลาในเชิงพื้นที่ คือ ช่วงเวลาในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกันออกไปในช่วงของการแบ่งเขตเวลา กิจกรรมต่างๆก็จะต่างกันออกไปตามช่วงเวลาของแต่ละพื้นที่ เช่น ประเทศที่โซนเวลาต่างกัน กิจกรรมก็จะแตกต่างกันออกไป